วันศุกร์ที่ 27 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

NAGA ROOF DECORATION GLAZED STONE WARE./นาคสังคโลก ส่วนประดับหลังคา


นาคสังคโลก ส่วนประดับหลังคา
ศิลปะสุโขทัน พุทธศตวรรษที่ 19-22 ปัจจุบันจัดแสดงใน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง จ.สุโขทัย

NAGA,ROOF DECORATION.GLAZED STONE WARE.
SUKHOTHAI STYLE,14th - 17th CENTURY.A.D.
AT PRESENT DSPLAYED AT
RAMAKHAMHAENG NATIONAL MUSEUM,SUKHOTHAI.

THREE-HEADED NAGAS ROOF DECORATION./มกรคายนาคสามเศียร สังคโลก

มกรคายนาคสามเศียร สังคโลก ส่วนประดับหลังคา
ศิลปะสุโขทัน พุทธศตวรรษที่ 19-22 ปัจจุบันจัดแสดงใน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ รามคำแหง จ.สุโขทัย

THREE-HEADED NAGAS, ROOF DECORATION.
SUKHOTHAI STYLE,14th - 17th CENTURY.A.D.
AT PRESENT DSPLAYED AT
RAMAKHAMHAENG NATIONAL MUSEUM,SUKHOTHAI.

วันพุธที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

SANGKALOK PLATE UNDERGLAZED PAINTY./จานสังคโลกเขียนลายปลา และลายพันธุ์พฤกษาใต้เคลือบ


จานสังคโลกเขียนลายปลา
และลายพันธุ์พฤกษาใต้เคลือบ
ศิลปะสุโขทัย พุทธศตวรรษที่ 19-22
ปัจจุบันจัดแสดงใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติรามคำแหง
จ.สุโขไทย

SANGKALOK PLATE UNDERGLAZED PAINTY, 
SUKHOTHAI STYLE;14th-17th CENTURY;A.D.
AT PRESENT DISPLAYED AT
RAMAKHAMHAENG NATIONAL MUSEAM;SUKHOTHAI

BUDDHA,PAINTED STUCCO./พระพุทธรูปปูนปั้น




พระพุทธรูปปูนปั้น
พบที่วัดพระพายหลวง เมืองสุโขทัยเก่า
ศิลปะสุโขทัย พุทธศตวรรษที่ 18-19
ปัจจุบันจัดแสดงใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติรามคำแหง
จ.สุโขไทย

BUDDHA,PAINTED STUCCO 
FROM WAT PHRA PHAI LUANG,SUKHOTHAI.
SUKHOTHAI STYLE;13th-14th CENTURY;A.D.
AT PRESENT DISPLAYED AT
RAMAKHAMHAENG NATIONAL MUSEAM;SUKHOTHAI


BUDDHA IN MEDITION SAND STONE./พระพุทธรูปศิลาปางสมาธิ


พระพุทธรูปศิลาปางสมาธิ
ศิลปะลพบุรี ปลายพุทธศตวรรษที่ 18
พบที่วัดพระพายหลวง เมืองสุโขทัยเก่า
ปัจจุบันจัดแสดงใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติรามคำแหง
จ.สุโขไทย

BUDDHA IN MEDITION SAND STONE
FROM WAT PHRA PHAI LUANG,SUKHOTHAI.
SUKHOTHAI STYLE;13th CENTURY;A.D.
AT PRESENT DISPLAYED AT
RAMAKHAMHAENG NATIONAL MUSEAM;SUKHOTHAI

LIME CONTAINER./เต้าปูนหิน,สำริด


เต้าปูนหิน,สำริด
ศิลปะสุโขทัย พุทธศตวรรษที่ 19-22
ปัจจุบันจัดแสดงใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติรามคำแหง
จ.สุโขไทย

LIME CONTAINER
SUKHOTHAI STYLE;14th-17th CENTURY;A.D.
AT PRESENT DISPLAYED AT
RAMAKHAMHAENG NATIONAL MUSEAM;SUKHOTHAI

SANGKALOK WARE./กระปุกสังคโลก


กระปุกสังคโลก
ศิลปะสุโขทัย พุทธศตวรรษที่ 19-22
ปัจจุบันจัดแสดงใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติรามคำแหง
จ.สุโขไทย

SANGKALOK WARE
SUKHOTHAI STYLE;14th-17th CENTURY;A.D.
AT PRESENT DISPLAYED AT
RAMAKHAMHAENG NATIONAL MUSEAM;SUKHOTHAI

วันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

Hanuman./หนุมาน




หนุมาน

เป็นโอรสพระพายกับนางสวาหะ สวมมาลัยทอง ถือตรีเป็นอาวุธ ซึ่งเป็นตัวละครเอกตัวหนึ่งในเรื่องรามเกียรติ์ เป็นลิงเผือก จึงมีสีขาวเป็นสีประจำกาย เมื่อสำแดงฤทธิ์จะมี 4 หน้า 8 มือ นอกจากนี้ ยังมีลักษณะประจำกายอื่นๆ อีก เช่น สวมกุณฑล มีขนเพชร มีเขี้ยวเป็นแก้ว และ หาวเป็นดาวเป็นเดือน ดังกลอนตอนที่หนุมานเกิดว่า

ลอยอยู่ตรงพักตร์ชนนี รัศมีโชติช่วงในเวหา
มีกุณฑลขนเพชรอลงการ์ เขี้ยวแก้วแววฟ้ามาลัย
หาวเป็นดาวเดือนระวีวร แปดกรสี่หน้าสูงใหญ่
สำแดงแผลงฤทธิ์เกรียงไกร แล้วลงมาไหว้พระมารดร

หนุมาน เป็นลิงที่มีฤทธิ์มาก สามารถสำแดงเดชต่างๆ ได้หลายประการ เช่น การขยายร่างกายให้ใหญ่โต การยืดหางให้ยาว เป็นต้น นอกจากนี้ หนุมานยังได้ชื่อว่าเป็นอมตะ คือ ไม่มีวันตาย เนื่องจากเป็นบุตรของพระพาย (ลม) กับนางสวาหะ ด้วยเหตุนี้ เมื่อหนุมานมีอันตรายถึงตายแล้ว เพียงแค่มีลมพัดมา หนุมานก็จะฟื้นคืนชีพขึ้นมาใหม่ ด้วยอำนาจของพระพายผู้เป็นบิดา

บุคลิกของหนุมานเป็นตัวแทนของชายหนุ่มทั่วไป คือ รูปงาม มีนิสัยเจ้าชู้ และ มีภรรยามาก เช่น นางสุพรรณมัจฉา ทั้งคู่มีบุตรด้วยกันหนึ่งตน คือ มัจฉานุ ซึ่งเป็นลูกผสมระหว่าง ลิงเผือกกับปลา นั่นคือ มีกายเป็นลิงเผือกเหมือนหนุมาน แต่หางนั้น กลับเป็นหางของปลา นางเบญกาย บุตรีของพญาพิเภก หนุมานได้นางเบญกายตอนที่ นางเบญกายจำแลงกายเป็นศพของ นางสีดาลอยทวนน้ำมา เพื่อหลอกพระรามให้เสียพระทัย แต่ภายหนังกลนี้ถูกจับได้ พระรามจึงให้หนุมานพานางเบญจกายไปส่งกลับเมือง ซึ่งทั้งมีคู่ลูกด้วยกัน ชื่อว่า อสุรผัด


The son of Phrapie & Nangwaha with her wearing a garland of gold held Swaha's weapons. The main characters in the Ramayana is one of the great white is white colored body. Page 4 of 8 show effects on the hands also look much like the body dressed in a green glass earring with Knepchr and the star of the month. When Hanuman was born as I was.


Floating in the mother before. Radius of flame in the air.
The earring Knepchr in the Garden. Garlands of twinkling blue snake's fangs.
Find a star in between the V century. Four of eight large organizations.
Inthe revealed rampant. The temple was Mardr.


Hanuman is a monkey that is very effective. Can exert such power. Several reasons like the big body. Long tail extending to others, etc. This is also known as the immortal Son of God is not dead, as pies (wind) with her Swaha this reason, when others have been fatal. Just the wind blows. Hanuman also raised new With the power of his father rowing.


Hanuman's character is a young man in general is beautiful and has a habit of flirting with his wife Macha others like her. The couple had one child together, is a hybrid between Machanu. I think the monkey is a monkey with a white tail like a monkey, but the problem is the tail of a fish, she's the daughter of Phaya Pipek. Hanuman was an important part in her. She's transformed himself into a major body of Sita came floating upstream. King Rama I to pretend to be. But the movie camera was captured. Rama and Hanuman to bring her body to return the five cities. Both have a couple of shows with the same name.

Todsakan Fack Gold./ทศกัณฐุ์หน้าทอง




หัวโขน ทศกัณฐุ์หน้าทอง

ใช้สำหรับ(แสดงละคร) ตอน ทศกัณฐุ์ลงสวนหรือฉุยฉายทศกัณฐุ์ พรหมพงศ์และอสูรพงศ์แห่งกรุงลงกา พญายักษ์ ทำเป็นหน้ายักษ์ ๒ ชั้น ชั้นที่ ๓ ทำเป็นหน้าพรหม ปากแสยะตาโพลง สวมมงกุฎยอดชัยมี สีทอง ทศกัณฐ์มีกายสีเขียว ๑๐ พักตร์ ๒๐ กร เป็นโอรสองค์ที่ ๑ ของท้าวลัสเตียนกับนางรัชฎานับเป็นกษัตริย์องค์ที่ ๓ ของกรุงลงกา

Wheel of Dhamma./ธรรมจักร


ธรรมจักร (ศิลปะทวารวดี)

ธรรมจักรหรือวงล้อศิลา เป็นแผ่นหินเดี่ยวๆ ที่แกะสลักลวดลายแบบทำลอยตัว ทำด้วยหินแลง หินทราย หรือหินปูนสีเขียวแก่ แต่เป็นส่วนน้อย เท่าที่พบเห็นก็มีอยู่ 2 - 3 อัน และไม่มีลวดลายจำหลักอันใด นอกจากสกัดให้เป็นรูปวงล้อ มีดุม มีกำและมีกง เช่นที่เก็บไว้ในพิพิธภัณฑสถานพระปฐมเจดีย์ จ.นครปฐม และในพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติพระนคร ในภาพเป็น ธรรมจักร มีภาพพระสุริยเทพประทับอยู่ด้านล่างของศิลา เป็นศิลปะทวารวดี พุทธศตวรรษที่ 12-13 พบที่ จ.นครปฐม

Wheel of Dhamma . A single slab. The pattern carved in the sandstone or limestone Hinแlg floats made ​​of dark green. But a few. I know they are 2-3 and the etch patterns either. It was the hub of a wheel with the grip and the wheel, as preserved in the National Museum of Phra Pathom Chedi in Nakhon Pathom and Bangkok National Museum is in the GNU have the solar deity stamped on the bottom of the stone. Dvaravati art. Found in Genesis 12-13 Mon century.

Phra Tao Thong Kam./พระเต้าทองคำ (สุวรรณภิงคาร)



พระเต้าทองคำ (สุวรรณภิงคาร)

 เครื่องราชูปโภคชนิดหนึ่ง มีลักษณะคล้ายคนโท ภิงคาร แปลว่า หม้อ, หม้อน้ำ + สุวรรณ แปลว่า ทอง ใช้เพื่อใส่น้ำเย็นให้พระมหากษัตริย์ บ้างก็ว่าเป็นพระเต้าทักษิโณทก ใช้สำหรับกรวดน้ำ หรือแสดงสิทธิ์ขาด เช่นคราวที่สมเด็จพระนเรศวรทรงใช้พระสุวรรณภิงคารหลั่งทักษิโณทก ประกาศอิสรภาพให้แก่ปวงชนชาวไทย
สุวรรณภิงคาร ที่จะเห็นได้ในรูปนั้น เป็นเครื่องราชูปโภคที่พบในกรุพระปรางค์วัดราชบูรณะ พระนครศรีอยุธยา มีเส้นผ่าศูนย์กลาง 13.6 เซนติเมตร สูงพร้อมฝา 18.5 เซนติเมตร ฝาสูง 6.8 เซนติเมตร ฝากว้าง 4.5 เซนติเมตร และ น้ำหนักรวม 600 กรัม ปัจจุบัน เก็บรักษาอยู่ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ เจ้าสามพระยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา

The Rachopopc one. Looks like someone's Pingcar that pot, pot of gold: Gold was used to add cold water to the king. Some say that the breast Takษiontk. Used to believe. Or right. King Naresuan the time to shed the Suwrrnpingcar Takษiontk. Declaration of Independence to the people.
Suwrrnpingcar to see in the picture. Rachopopc is found in the group The Temple of royal restoration. Ayutthaya Diameter 13.6 cm and 18.5 cm high with lid lid lid height 6.8 cm, 4.5 cm wide and weighs 600 grams and is now preserved at the Chao Sam Phraya National Museum, Ayutthaya.

Prasat Hin Phimai./ปราสาทหินพิมาย


ปราสาทหินพิมาย จ.นครราชสีมา

เมืองพิมายเป็นเมืองที่สร้างตามแบบแผนของศิลปะขอม มีลักษณะเป็นเวียงสี่เหลี่ยม ชื่อ พิมาย น่าจะมาจากคำว่า วิมาย หรือ วิมายปุระ ที่ปรากฏในจารึกภาษาขอมบนแผ่นหินตรงกรอบประตูระเบียงคดด้านหน้าของปราสาท จากหลักฐานศิลาจารึกและศิลปะสร้างบ่งบอกว่า ปราสาทหินพิมายคงเริ่มสร้างขึ้นสมัยพระเจ้าสุริยวรมันที่ 1 ราวพุทธศตวรรษที่ 16 ในฐานะเทวสถานของศาสนาพราหมณ์ รูปแบบของศิลปะเป็นแบบบาปวนผสมผสานกับศิลปะแบบนครวัด ซึ่งหมายถึงปราสาทนี้ได้ถูกดัดแปลงมาเป็นสถานที่ทางศาสนาพุทธในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ 7
เมื่ออิทธิพลของวัฒนธรรมขอมเริ่มเสื่อมลงหลังรัชสมัยของพระเจ้าชัยวรมันที่ 7 และมีการสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยในเวลาต่อมา เมืองพิมายคงจะหมดความสำคัญลง และหายไปในที่สุด เนื่องไม่ปรากฏหลักฐานเกี่ยวกับเมืองพิมายเลยในสมัยสุโขทัย
ในปี พ.ศ. 2479 กรมศิลปากรได้ประกาศขึ้นทะเบียนปราสาทหินพิมายเป็นโบราณสถาน และได้จัดตั้งเป็น อุทยานประวัติศาสตร์พิมาย ในวันที่ 12 เมษายน พ.ศ. 2532 โดยได้ดำเนินการปรับปรุงจัดตั้งถึง 13 ปี ร่วมมือกันระหว่างกรมศิลปากร และประเทศฝรั่งเศส ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2519-2532 ซึ่งสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ได้เสด็จฯ พระราชดำเนิน เป็นองค์ประธานในพิธีเปิดอุทยาน

Phimai is a pattern of Khmer art. The town square as a sanctuary from that in the past or in the Palace of the Khmer language inscriptions on the stone patio door frame and the front of the castle. Evidence to suggest that art and inscriptions. Phimai Sanctuary was created in the reign of romanization, which was a 16th century shrine of a Brahmin. Art is a form of art combined with the sin of Angkor Wat. This means that the castle has been converted into places of Buddhism in the reign of King Jayavarman the 7th.
When the Khmer cultural influence began to decline after the reign of King Jayavarman 7 and the subsequent establishment of the Sukhothai Kingdom. Phimai is probably less important. And finally lost. Is no evidence at all in the sanctuary city of Sukhothai.
In 2479 the Fine Arts Department, Phimai Sanctuary has been registered as historic. And has established a. Phimai Historical Park on 12 April 2532 has improved to 13-year partnership between the Department of Fine Arts. And France from the year 2519-2532 as Prince Maha Chakri Sirindhorn's. Her Royal Highness Princess Maha Chakri Sirindhorn has graciously presided over the opening ceremony Prarachdmenin park.




Phrang Sree Thep./ปรางค์ศรีเทพ



ปรางค์ศรีเทพ อุทยานประวัติศาสตร์ศรีเทพ จ.เพชรบูรณ์


เป็นโบราณสถานสำคัญแห่งหนึ่งของจังหวัดเพชรบูรณ์ อุทยานมีพื้นที่ครอบคลุมโบราณสถานในเมืองเก่าศรีเทพ ศรีเทพเป็นเมืองโบราณที่อยู่ในท้องที่อำเภอศรีเทพ เดิมมีชื่อว่า "เมืองอภัยสาลี" ถูกค้นพบเมื่อสมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพเสด็จไปตรวจราชการมณฑลเพชรบูรณ์ และได้ทรงเรียกเมืองนี้เสียใหม่ว่า "เมืองศรีเทพ" เมื่อปี พ.ศ. 2447-2448 เมืองโบราณศรีเทพนี้มีลักษณะเป็นเมืองซ้อนเมืองขนาดใหญ่ ที่ตั้งของเมืองอยู่ในชุมทาง ที่สามารถติดต่อกับภาคอื่น ๆ ได้สะดวก ดังนั้นจึงได้รับอิทธิพลทางศิลปวัฒนธรรมจากอาณาจักรข้างเคียง มาผสมผสาน เช่น ศิลปะทวารวดี ศิลปะขอม เป็นต้น เมืองศรีเทพสร้างขึ้นในยุคของขอมเรืองอำนาจ ซึ่งคาดว่ามีอายุไม่ต่ำกว่า 1,000 ปี โดยดูจากหลักฐานทางสถาปัตยกรรม ศิลปกรรม และวัฒนธรรมที่ตกทอดมาถึงปัจจุบัน ซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวและมีความเจริญสูงสุดทางด้านสถาปัตยกรรมและศิลปกรรม สันนิษฐานว่าเจริญอยู่ในช่วงพุทธศตวรรษที่ 11 ถึงพุทธศตวรรษที่ 16

The historic importance of the province of Phetchabun. The park covers an area of ​​historic Old Town Thep. Si Thep is an ancient town in Amphoe Thep. Previously. "The forgiveness of wheat" was discovered when he was the prince went to the King this Phetchabun province inspection. He called the city and lose it. "Thep city" on the year 2447-2448 is the Si Thep Ancient City is a large overlap. Located in a junction. That can easily interface with other sectors and therefore affected the Kingdom's cultural mix of art, such as the city Thep Dvaravati, Khmer Art, built during the Khmer power. It is expected that at least 1,000 years by the architectural heritage of arts and culture to the present. Which is unique and has the highest architectural and artistic development. Assumed that growth in the 11th century to the 16th century.

Wat Mahathat in Sukhothai Historical Park./วัดมหาธาตุ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย


วัดมหาธาตุ อุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย จ.สุโขทัย

เป็นวัดหลวงโบราณขนาดใหญ่ที่สำคัญของกรุงสุโขทัยมาแต่อดีต ตั้งอยู่ในใจกลางเมือง ในเขตอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย ใกล้กับวัดตระพังเงิน และเนินปราสาท สร้างในสมัยพ่อขุนศรีอินทราทิตย์ นับเป็นโบราณสถานที่สำคัญและมีสิ่งปลูกสร้างมากที่สุดของสุโขทัย โดยมีเจดีย์รายนับได้ถึง 200 องค์

Wat Mahathat in Sukhothai Historical Park, Sukhothai Province.

Wat Mahathat is temple and the large ancient city of Sukhothai,from the past.Located in the heart of the Sukhothai Historical Park,near with Wat Tra Phang Ngurn and Nurnprasat .Built in the reign of King Sri Indra Tit Jersey.
This is the important archaeological sites ,And have buildings the most. The pagoda is lined with more than 200 ong.



Wat Rat Burana./วัดราชบูรณะ


วัดราชบูรณะ
วัดราชบูรณะสร้างขึ้นในรัชสมัยของสมเด็จพระบรมราชาธิราชที่ 2 ในบริเวณพื้นที่และตำแหน่งเดิมที่พระองค์ได้ทรงถวายพระเพลิงศพให้กับเจ้าอ้ายพระยาและเจ้ายี่พระยา พระเชษฐาทั้งสองพระองค์ที่สิ้นพระชมน์ภายในหลังจากการกระทำยุทธหัตถี เพื่อแย่งชิงราชสมบัติของสมเด็จพระนครอินทราธิราชพระราชบิดาที่ทรงเสด็จสวรรคตลงในปี พ.ศ. 1967 เมื่อครั้งที่สมเด็จพระนครอินทราธิราช เสด็จขึ้นครองราชสมบัติ เป็นพระมหากษัตริย์ลำดับที่ 6 แห่งกรุงศรีอยุธยา และพระมหากษัตริย์พระองค์ที่ 3 แห่งราชวงศ์สุพรรณภูมิ ทรงโปรดเกล้าให้พระราชโอรสของพระองค์ทั้ง 3 พระองค์ได้แก่ เจ้าอ้ายพระยา เจ้ายี่พระยาและเจ้าสามพระยา แยกย้ายกันปกครองหัวเมืองต่าง ๆ โดยทรงมอบหมายให้เจ้าอ้ายพระยา พระราชโอรสองค์ใหญ่ปกครองเมืองสุพรรณบุรี เจ้ายี่พระยา พระราชโอรสองค์กลางปกครองเมืองแพรกศรีราชา และเจ้าสามพระยาพระราชโอรสองค์เล็ก ปกครองเมืองชัยนาท (พิษณุโลก)ในปี พ.ศ. 1967 สมเด็จพระนครอินทราธิราช เสด็จสวรรคตโดยที่ยังมิได้สถาปนาพระมหาอุปราชผู้เป็นรัชทายาทครอบครองกรุงศรีอยุธยาสืบต่อไป ภายหลังการสิ้นพระชมน์ เจ้าอ้ายพระยาและเจ้ายี่พระยาทราบข่าวการสิ้นพระชมน์ จึงยกกองทัพจากเมืองสุพรรณบุรีและเมืองแพรกศรีราชา มุ่งหน้าเข้าสู่กรุงศรีอยุธยาเพื่อทำสงครามในการช่วงชิงราชสมบัติต่อจากพระราชบิดา

Wat Rat Burana was built in the reign of Phaboromrachathiras, the second emperor of the area and the position he was  the funeral ceremony for the  Chao Ai Phraya and Chao Yi Phraya . His brother and he's After the war Iuthheete. To usurp the throne of King Phra Indra President that his father had died in the year 1967 when the capital was Indra President. Ascended the throne. No. 6 is the king of Ayutthaya. And a third monarch of the House of gold landscape. Their Majesties the King and his son, and he has three. I love Prince. Yi Chao Phraya and Chao Sam Phraya. Dismissed by the Administrative Districts were assigned to Ai Chao Phraya. The son of parents in Suphan middle son Prince Yi Praek Sriracha city government. Chao Sam Phraya and young son. Nat City government. (Edinburgh) in 1967 by King Phra Indra President. His death has not been established by the viceroy, who was a successor to the throne of Ayudhya possession. After the end of the reporting watch. Chao Ai and Chao Yi Phraya Phraya knew the King's County. The army of the Suphan Buri and Si Racha Praek city. Heading to Ayutthaya for war in the scramble for the throne of his father.

วันพุธที่ 18 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

CARVED CANDLE ALTAR WITH GLASS MOSAIC INLAY WOOD./แท่นสัตตภัณฑ์ หรือที่จุดเทียนทำด้วยไม้สลักประดับกระจก


แท่นสัตตภัณฑ์ หรือที่จุดเทียนทำด้วยไม้สลักประดับกระจก
ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ 25 ปัจจุบันจัดแสดงใน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย จ.ลำพูน

CARVED CANDLE ALTAR WITH GLASS 
MOSAIC INLAY WOOD.
LANNA STYLE;20th CENTURY.A.D.
AT PRESENT DISPLAYED AT 
HARIPUNJAYA NATIONAL MUSEUM;LAMPUN.



LANTERN;BRONZE./โคมทรงปราสาทหรือโคมป่องสำริ


โคมทรงปราสาทหรือโคมป่องสำริด
ได้มาจากวัดพระธาตุหริภุญไชย จ.ลำพูน
ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ 21 ปัจจุบันจัดแสดงใน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย จ.ลำพูน

LANTERN;BRONZE.
FROM WAT PRA HARIPUNJAYA;LAMPUN
LANNA STYLE;14th-17th CENTURY.A.D.
AT PRESENT DISPLAYED AT 
HARIPUNJAYA NATIONAL MUSEUM;LAMPUN.

ROOF DECORATION WITH NAGA AND DIVINITY ./ช่อฟ้าดินเผาเคลือบ รูปนาคและเทพพนม


ช่อฟ้าดินเผาเคลือบ รูปนาคและเทพพนม
ได้จากวัดพระธาตุเสร็จ จ.ลำปาง
ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ 22 ปัจจุบันจัดแสดงใน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย จ.ลำพูน

ROOF DECORATION WITH NAGA AND DIVINITY
FIGURES GLAZED STONEWARE.
FROM WAT PRA THAT SADET;LAMPANG
LANNA STYLE;14th-17th CENTURY.A.D.
AT PRESENT DISPLAYED AT
HARIPUNJAYA NATIONAL MUSEUM;LAMPUN.

GAJASIMHA (KIND OF A MYTHICAL ANIMAL./คชสีห์ ดินเผาเคลือบ


คชสีห์ ดินเผาเคลือบ
ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ 19-22 ปัจจุบันจัดแสดงใน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย จ.ลำพูน

GAJASIMHA (KIND OF A MYTHICAL ANIMAL;
HALF ELEPHANT HALF LION)STONEWARE.
LANNA STYLE;14th-17th CENTURY.A.D.
AT PRESENT DISPLAYED AT 
HARIPUNJAYA NATIONAL MUSEUM;LAMPUN.

Jar With Floral Painting Glazed Stoneware./ไหดินเผาเคลือบเขียนลายประดับพันธุ์พฤกษา

ไหดินเผาเคลือบเขียนลายประดับพันธุ์พฤกษา
เตาเผาเวียงกาหลง
ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ 20-22 ปัจจุบันจัดแสดงใน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย จ.ลำพูน

JAR WITH  FLORAL  PAINTING  GLAZED  STONEWARE.
KALONG  KLIN;CHIENGRAI.
LANNA STYLE;15th-17th CENTURY.A.D.
AT PRESENT DISPLAYED AT 
HARIPUNJAYA NATIONAL MUSEUM;LAMPUN.

วันจันทร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

The Angles Pictures.In Putthaisawan Palace/ภาพเทวดา-นางฟ้าในพระที่นั่งพุทไธสวรรย์

จิตรกรรมฝาผนังภายในพระที่นั่งพุทไธสวรรย์

เป็นรูปเทวดา-นางฟ้า นั่งอยู่ในท่าเทพพนมเป็นลายเส้นที่่สวยงาม
กิริยาท่าทางอ่อนช้อย มองดูแล้วให้ความรู้สึกน่าเคารพนับถือ ซึ่งภาพแบบนี้เราสามารถหาดูได้จากวัดวาอารามต่างๆ แล้วแต่ละที่ก็จะมีภาพที่แตกต่างกันไปทั้งการลงสี และรูปภาพที่จะวาดลงฝาผนัง


An angel  picture.There sat in a beautiful scroll lines.
Delicate manner. What I feel honorable. This image can be found in various temples. Then each will have different images and color. And to draw down the wall.

Memorandum./จดหมายเหตุและไปรษณียบัตร


จดหมายเหตุ 

หมายถึงบันทึก หรือรายงานเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น ณ ช่วงเวลาหนึ่งๆ โดยผู้บันทึกอาจเป็นส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจ หรือบุคคลทั่วไปก็ได้ ตั้งแต่ครั้งอดีต พระมหากษัตริย์ไทย ทรงโปรดเกล้าฯให้มีธรรมเนียมการจดบันทึกเหตุการณ์สำคัญของบ้านเมือง วิถีชีวิต ความเป็นอยู่ รวมถึงปรากฏการณ์ธรรมชาติที่เกิดขึ้น โดยผู้มีหน้าที่จดบันทึกดังกล่าวเรียกว่าอาลักษณ์ จดหมายเหตุนี้จะถูกเก็บรักษาไว้อย่างดีในหอจดหมายเหตุหรือหอหลวง เพื่อให้เป็นประโยชน์ทางการศึกษาต่อคนรุ่นหลัง จดหมายเหตุในราชวงศ์นี้ บางทีก็เรียกพระราชพงศาวดาร เช่น พระราชพงศาวดารกรุงเก่า และพระราชพงศาวดารเหนือ[1]ในพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก พระราชพงศาวดารฉบับพระราชหัตถเลขาในพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระราชพงศาวดารกรุงรัตนโกสินทร์[2]ในพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จดหมายเหตุที่บันทึกโดยบุคคลในอดีตก็มีความสำคัญไม่น้อย มีทั้งการบันทึกเหตุการ์ทั่วไป การบันทึกเรื่องราวของตนเองอย่างลักษณะไดอารี่ ฯลฯ บางฉบับมีคุณค่าต่อการศึกษาประวัติศาสตร์อย่างมาก เช่น จดหมายเหตุบางกอก (อังกฤษ:Bangkok Recorder) ของหมอบรัดเลย์ จดหมายเหตุลาลูแบร์ (ฝรั่งเศส:Du Royaume de Siam) เขียนโดยมองซิเออร์ เดอ ลาลูแบร์อัครราชทูตของพระเจ้าหลุยส์ที่ 14 แห่งฝรั่งเศส จดหมายเหตุเสด็จประพาสยุโรป ร.ศ.116 ของพระยาศรีสหเทพ (เส็ง) จดหมายเหตุความทรงจำของกรมหลวงนรินทรเทวี จดหมายเหตุจีนว่าด้วยกรุงสยาม เป็นต้น
จดหมายเหตุในอดีตพบว่ามีการบันทึก โดยการเขียน การพิมพ์ ลงบนวัสดุต่างๆตามยุคสมัย เช่น แผ่นหิน ใบลาน กระดาษ เป็นต้น

ภาพตัวอย่างหนังไทยขาว-ไทยดำ



ต้นฉบับหนังสือสมุดไทยขาว-ดำ 
บันทึกข้อความด้วยเส้นหมึก เส้นหรดาล และเขียนภาพด้วยสีน้ำยา
วัสดุที่ทำ : กระดาษข่อย เส้นหมึกดำ จำนวน ๕ เล่ม
ลักษณะตัวอักษร : อักษรไทย ภาษาไทย ประมาณพุทธศตวรรษที่ ๒๔


สาระ เล่ม ๑ : เนื้อความมีประนามพจน์ เริ่มเรื่องปาจิตกุมารจนถึงพระปาจิตอำลานางอรพิม กลับเมืองนครทม เพื่อเตรียมยกกระบวนขันหมากมาสู่ขอนาง
เล่ม ๒ : เนื้อเรื่องเริ่มจากพระปาจิตทรงสุบินนิมิต ให้โหรทำนายแล้วส่งอำมาตย์ไปสืบข่าวยังบ้านนางอรพิม ( เนื้อความไม่ต่อเนื่องกับเล่ม ๑ )
เล่ม ๓ : เนื้อเรื่องต่อจากเล่ม ๒ ตั้งแต่นางอรพิมถูกนายพรานพาตัวไป นางคิดอุบายฆ่านายพรานตาย แล้วรีบกลับมาที่พระศพพระปาจิตพ่นยาที่พระอินทร์บอกช่วยสามีคืนชีวิต จนถึงนางอมรให้สาวใช้นำเภสัชและสารไปถวายพระสังฆราช
เล่ม ๔ : เนื้อเรื่องต่อจากเล่ม ๓ ตั้งแต่พระสังฆราชอ่านสารแล้วจึงตอบสารนางอมรทราบ จนถึงพระปาจิตพานางอรพิมออกจากนครจัมปาก
เล่ม ๕ : เนื้อความตั้งแต่ไพร่พลของพระปาจิตสร้างเมรุถวายพระเพลิงพระเจ้าพรหมทัต ณ เมืองพาราณสี จนถึงประชุมชาดกจบเรื่อง
ในตอนท้ายมีนิทานสุภาษิตเรื่องพระโพธิสัตว์โกสามภินได้ปริวรรตอักษรและจัดพิมพ์ไว้ด้วย

Kinnaree image./ภาพจิตรกรรมฝาผนังรูปกินรี

กินรี
ภาพจาก : สมุดภาพตำรารำสมัยรัชกาลที่ ๑

กินรีมีต้นกำเนิดที่แท้จริงเป็นมาอย่างไรนั้นยังไม่พบตำราไหนกล่าวไว้ชัดเจน แต่ในเทวะประวัติของพระพุธกล่าวไว้ว่า เมื่อท้าวอิลราชประพาสป่าแล้วหลงเข้าไปในเขตหวงห้ามของพระศิวะนั้น ท้าวอิลราช และบริวารถูกสาปให้แปลงเพศเป็นหญิงทั้งหมด ต่อมานางอิลา คือ ท้าวอิลราชถูกสาป และบริวารที่มาเล่นน้ำอยู่ใกล้อาศรมของพระพุธ เมื่อพระพุธเห็นนางเข้าก็ชอบ รับนางเป็นชายา และเสกให้บริวารของนางกลายเป็น กินรี โดยบอกว่าจะหาผลาหารให้กิน และจะหากิมบุรุษให้เป็นสามี แสดงว่า กิมบุรุษ หรือ กินนร และกินรีมีต้นกำเนิดมาจากการเสกของพระพุธในหนังสือของ พี.ธอมัส กล่าวว่าที่เชิงเขาเมรุเป็นที่อยู่ของคนธรรพ์ กินร และสิทธิ์ และว่าคนธรรพ์กับกินนรเป็นเชื้อสายเดียวกัน ส่วนในภัลลาติชาดก กล่าวว่า กินนรมีอายุ ๑,๐๐๐ ปี และธรรมดากินนรนั้นย่อมกลัวน้ำเป็นที่สุด ซึ่งน่าจะขัดแย้งกับอุปนิสัยกินนรในเรื่องพระสุธน เพราะนางมโนห์ราชอบไปเล่นน้ำที่สระกลางป่าหิมพานต์ จึงถูกพรานบุญดักจับตัวได้


วันเสาร์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

Chinaware Phrawet Sundorn Pattern./เครื่องลายครามรูปพระเวสสันดร





โถพร้อมฝาเครื่องลายคราม จากจิตรกรรมเรื่อง " พระเวสสันดรชาดก "
เป็นภาพของพระเวสสันดร พระนางมัทรี กัญหา ชาลี  พระเจ้าสญชัย และ พระนางผุสดี ได้อยู่กันพร้อมหน้าพร้อมตา ก่อนที่ พระเวสสันดร พระนางมัทรี จะพา กัญหา ชาลี ออกจากเมืองสีพีมุ่งไปสู่ป่า เพื่อบำเพ็ญพรตภาวนา

Thep Twarbal Pictures.In Putthaisawan Palace/ภาพเทพทวารบาลในพระที่นั่งพุทไธสวรรย์


“ทวารบาล” ผู้พิทักษ์รักษาประตู 

การสร้างทวารบาลนั้น น่าจะเกิดมาจากความเชื่อที่ว่า “ผี” เป็นผู้กระทำให้เกิดสิ่งต่างๆ เหนือธรรมชาติ และได้รับการพัฒนามาเป็นความเชื่อในเรื่องของเทวดาโดยได้รับอิทธิพลจากอินเดีย ทั้งศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ โดยทางศาสนาฮินดูนั้นได้ก่อเกิดเทพเจ้าต่างๆ ขึ้น 

โดยกำหนดให้เขาไกรลาส หรือเขาพระสุเมรุเป็นศูนย์กลางของจักรวาล อันจะรายรอบไปด้วยป่าหิมพานต์ มีพระอิศวรเป็นใหญ่ และมีเทพชั้นรองทำหน้าที่พิทักษ์ผู้รักษาประตู หรือทางเข้าสู่เขาไกรลาสทั้งแปดทิศ ซึ่งเทพเจ้าในศาสนาฮินดูไม่จำกัดรูปร่าง จะเป็นมนุษย์ สัตว์ หรือครึ่งมนุษย์ครึ่งสัตว์ ตามแต่ความเชื่อ ซึ่งสัตว์ที่ไม่มีในโลกมนุษย์เรียกว่า “สัตว์หิมพานต์” ที่อาศัยอยู่ในป่าหิมพานต์ เชิงเขาไกรลาสที่ถือเป็นดินแดนแห่งเทพเจ้า 

จากคติความเชื่อเทพผู้พิทักษ์รักษาประตูนี้ ได้นำมาใช้กับงานประติมากรรม สถาปัตยกรรม และจิตรกรรม ด้วยเหตุที่ชาวฮินดูต้องการให้มีเทพปกปักรักษาสถานที่สำคัญทางศาสนา เนื่องจากมนุษย์ทั่วไปไม่มีศักยภาพเพียงพอที่จะป้องกันภัยจากสิ่งที่มองไม่เห็นด้วยตา ทั้งนี้ เนื่องจากศาสนสถานเหล่านั้นสร้างขึ้นตามคติว่าเป็นสถานที่อันเทพเจ้าสูงสุดประทับอยู่ จึงได้จำลองเขาไกรลาสมาไว้ยังโลกมนุษย์แล้วเกิดคติการสร้างทวารบาลขึ้นมา 

“ส่วนตามคติความเชื่อของไทยเองก็ถือว่าพระอินทร์เป็นผู้รักษาพระศาสนาด้วยเช่นกัน ด้วยความคิดตรงนี้จึงเกิดมีการผสมผสานขึ้นมา เพราะคนไทยเป็นชาติที่ไม่ลอกเขา แต่เราชอบเลียนเขา คือเราไม่ได้ลอกเขามาทั้งหมด แต่เราจะดูว่าแบบของเขาเป็นอย่างไร ส่วนของเราคิดอย่างไร แล้วค่อยมาผสมกัน ก็เลยเกิดเป็นทวารบาลหลายรูปแบบขึ้นมา มีทั้งเทวดาถือพระขรรค์ เทวดาไทยผสมจีน (เซี่ยวกาง) หรือถือพวกอาวุธต่างๆ ขี่กิเลนบ้าง ขี่สิงห์บ้าง แบบแผนตรงนี้ตามศาสนสถานหลายแห่งต่างก็มีแนวทางที่แตกต่างกันออกไป” 




Pudthaisawan Palace./พระที่นั่งพุทไธสวรรย์


ประวัติของพระที่นั่งพุทไธสวรรย์ 

สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาทโปรดฯ ให้สร้างพระที่นั่งขึ้น เดิมมีพระดำริว่าจะใช้สำหรับเป็นสถานที่ประกอบพระราชพิธีต่าง ๆ เช่น พระราชพิธีตรุษสารท พระราชพิธีโสกันต์พระเจ้าลูกเธอ ในระหว่างนั้นเมื่อปี พ.ศ. 2330 พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมีพระบรมราชโองการให้พระองค์เสด็จขึ้นไปยังเมืองเชียงใหม่เพื่อสำราจการสร้างเมืองขึ้นใหม่ให้ประชาชนอยู่ได้ตามปกติ ซึ่งในขณะนั้น เมืองเชียงใหม่อาจจะถือได้ว่าเป็นเมืองร้างเนื่องจากเกิดศึกสงครามอยู่บ่อยครั้ง ประชาชนส่วนใหญ่จึงอพยพลี้ภัยไปอาศัยอยู่เมืองอื่น ในระหว่างการสำรวจนั้น พระองค์ได้พบพระพุทธสิหิงค์ และทรงระลึกได้ว่าเป็นพระพุทธรูปที่เคยประดิษฐาน ณ วัดพระศรีสรรเพชญ์ ตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา พระองค์จึงอัญเชิญพระพุทธสิหิงค์ลงมาที่พระนคร แล้วทรงพระราชอุทิศพระที่นั่งองค์นี้ พร้อมทั้งสร้างปราสาททองห้ายอดถวายเป็นที่ประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์ และประทานนามพระที่นั่งว่า "พระที่นั่งสุทธาสวรรย์"
ภายหลังการเสด็จทิวงคตของสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาสุรสิงหนาท พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกทรงพระราชดำริว่า "พระพุทธรูปเงินทองและของพุทธบูชามีอยู่ในพระที่นั่งสุทธาสวรรย์มาก หากทิ้งไว้ผู้ร้ายจะลักเอาไปเสีย" ดังนั้น จึงโปรดฯ ให้อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์และพระพุทธรูปอื่น ๆ มาประดิษฐานไว้ที่พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ตั้งแต่นั้นมา
ในสมัยสมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาเสนานุรักษ์ พระองค์โปรดให้รื้อปราสาททองห้ายอดซึ่งเคยประดิษฐานพระพุทธสิหิงค์ออก แล้วให้ตั้งพระแท่นเศวตฉัตรแทนเพื่อใช้เป็นที่เสด็จออกแขกเมือง และพระสงฆ์ถวายพระธรรมเทศนา
ต่อมา สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพทรงปฏิสังขรณ์พระที่นั่งสุทธาสวรรย์ใหม่ ซึ่งสมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ทรงพระนิพนธ์ไว้ว่า การปฏิสังขรณ์ในครั้งนี้เป็นที่น่าชมอย่างหนึ่งที่ของเดิมสิ่งใดดีเอาไว้หมดทุกอย่าง เป็นแต่ซ่อมแซมที่ชำรุด จึงยังแลเห็นของเดิมที่ทำโดยประณีตบรรจงมาจนทุกวันนี้ พร้อมกันนี้ พระองค์ทรงเปลี่ยนนาม "พระที่นั่งสุทธาสวรรย์" เป็น "พระที่นั่งพุทไธสวรรย์" อาจจะด้วยเหตุผล 3 ประการ ได้แก่
เนื่องจากพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงสร้าง พระที่นั่งสุทไธสวรรย์ ขึ้นภายในพระบรมมหาราชวัง ซึ่งมีชื่อที่ใกล้เคียงกับพระที่นั่งสุทธาสวรรย์ ดังนั้น สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพจึงเปลี่ยนนามพระที่นั่งเพื่อให้แตกต่างไป
สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพโปรดให้สร้างพระที่นั่งอิศราวินิจฉัยขึ้นใหม่ ดังนั้น จึงได้เปลี่ยนชื่อพระที่นั่งเป็น "พระที่นั่งพุทไธสวรรย์" เพื่อให้ชื่อคล้องจองกัน
หลังจากการสร้างพระที่นั่งอิศราวินิจฉัย พระองค์ทรงให้ย้ายพระแท่นเศวตฉัตรซึ่งเดิมตั้งอยู่ที่พระที่นั่งสุทธาสวรรย์ไปไว้ที่พระที่นั่งอิศราวินิจฉัย พระองค์คงมีพระราชดำริให้พระที่นั่งสุทธาสวรรย์เป็นที่ประดิษฐานพระพุทธรูปดังที่เคยเป็น จึงเปลี่ยนพระที่นั่งใหม่เป็น "พระที่นั่งพุทไธสวรรย์"
หลังจากนั้น เมื่อพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัวเสด็จมาประทับที่พระบวรราชวัง พระองค์ได้อัญเชิญพระพุทธสิหิงค์ซึ่งพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกได้อัญเชิญไปประดิษฐาน ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม กลับมาประดิษฐาน ณ พระที่นั่งพุทไธสวรรย์ดังเดิม

History of the Pudthaisawan Palace.

I was thinking the exact voice of the King's favorite. The palace was built. His original intention was to use the premises for a ceremony such as the Royal New Year festival. His Majesty and Her Royal Highness Oskants. During the year 2330 when King Rama I had the President that he came up to the city's important for you to build a new city to live as normal people. Which at that time. The city may be regarded as abandoned because of frequent wars. Most residents are immigrants, refugees to live in another city. During the survey. He was the Buddha's Sandy link. And remember that the Buddha was enshrined at Wat Phra Sri Sanphet. Since the Ayutthaya period. He brought me down to the Buddha's city of Lehi. He then dedicated the royal throne of God for this. And navigate to the castle in honor of Buddha's Sandy link. Hall and gave him the name that " Pudthaisawan Palace ".



Wat Phra Haripunchai Lumpun County./วัดพระธาตุหริภุญชัย จ.ลำพูน



ประวัติของวัดพระธาตุหริภุญชัย

วัดพระธาตุหริภุญชัยวรมหาวิหาร สร้างขึ้นในพุทธศตวรรษที่ ๑๗ ในรัชสมัยของพญาอาทิตยราช กษัตริย์แห่งราชวงศ์จามเทวีวงศ์ โดยที่แห่งนี้ เคยเป็นพระราชฐานของพระองค์ซึ่งพระราชทานอุทิศถวายให้เป็นวัดพระธาตุฯ เพื่อเป็นพุทธบูชาหลังจากที่พระบรมสารีริกธาตุได้ปรากฏ ให้พระองค์ได้ทอดพระเนตรในบริเวณดังกล่าว มวลสารผงจากองค์พระบรมธาตุหริภุญชัยใช้ทำพระสมเด็จจิตรลดา


History of Wat Phra Haripunchai.

Wat Phra Haripunchai . Built in the 17th century during the reign of Phaya Sun King. King of the royal family Chamadevi.This here. His royal court, which was consecrated as a temple to Buddha. After Buddha's relics to be displayed. Give him a visit in the area. Mass of the Lord Buddha relics powder Introduce yourself to the King Chitralada.



Water Vase Terracotta./น้ำต้นหรือคนโทดินเผา



LANNA STYLE; 15th - 17th CENTURY;A.D.
AT PRESENT DISPLAYED
AT HARIPUNJAYA NATIONAL MUSEUM;LAMPUN.

น้ำต้นหรือคนโทดินเผา
ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ 19-22 ปัจจุบันจัดแสดงใน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย จ.ลำพูน

Three Seated Buddha Images A Caparisoned Elephant./ช้างทรงเครื่อง อัญเชิญพระพุทธรูป



LANNA STYLE; 20th CENTURY;A.D.
AT PRESENT DISPLAYED
AT HARIPUNJAYA NATIONAL MUSEUM;LAMPUN.

ช้างทรงเครื่อง อัญเชิญพระพุทธรูป
ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ 25 ปัจจุบันจัดแสดงใน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย จ.ลำพูน



Bas-Relife Of Female Figurine On Brick./รูปสตรี บนแผ่นอิฐ



FROM WAT PHRA THAT HARIPUNJAYA;LAMPUN.
HARIPUNJAYA STYLE. AT PRESENT DISPLAYED 
AT HARIPUNJAYA NATIONAL MUSEUM;LAMPUN.


รูปสตรี บนแผ่นอิฐ
ได้มาจากวัดพระธาตุหริภุญไชย ลำพูน
ศิลปะหริภุญไชย ปัจจุบันจัดแสดงใน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย จ.ลำพูน

Panel With Buddha Wood./แผงพระพุทธรูปลายไม้จำหลัก



LANNA STYLE; 20th CENTURY.A.D
AT PRESENT DISPLAYED AT HARIPUNJAYA NATIONAL MUSEUM;LAMPUN.

แผงพระพุทธรูปลายไม้จำหลัก
ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ 25 ปัจจุบันจัดแสดงใน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย จ.ลำพูน

Buddha Subduing Mara Bronze./พระพุทธรูปปางมารวิชัย ขัดสมาธิราบ




FROM  WAT PRA THAT HARIPUNJAYA;LAMPUN.
LANNA STYLE; 15th - 16th CENTURY.A.D
AT PRESENT DISPLAYED AT HARIPUNJAYA NATIONAL MUSEUM;LAMPUN.

พระพุทธรูปปางมารวิชัย ขัดสมาธิราบ
ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษที่ 20-21 ปัจจุบันจัดแสดงใน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย จ.ลำพูน

Divinity Bronze./เทวดาสำริด




FROM  WAT PRA THAT HARIPUNJAYA;LAMPUN.
LANNA STYLE; 15th - 17th CENTURY.A.D
ATPRESENT DISPLAYED AT HARIPUNJAYA NATIONAL MUSEUM;LAMPUL.

เทวดาสำริด
ได้มาจากวัดพระธาตุหริภุญไชย ลำพูน ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษ
ที่ 20-22 ปัจจุบันจัดแสดงใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย 
จ.ลำพูน

Divinity Head.Terra Cotta/เศียรเทวดาดินเผา




FROM WAT PRATULI; LAMPUN.
HARIPUNJAYA STYYLE; 12th - 13th  CENTURY. A.D.
AT PRESENT DISPLAYED AT HARIPUNJAYA NATIONAL MUSEAM; LANPUN.

เศียรเทวดาดินเผา
ได้มาจากวัดประตูลี้ ลำพูน 
ศิลปะแบบหริภุญไชย พุทธศตวรรษที่ 17-18
ปัจจุบันจัดแสดงใน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย จ.ลำพูน

Buddha Head .Terra Cotta/เศียรพระพุทธรูปดินเผา





HARIPUNJAYA STYLE; LATE 12th CENTURY.A.D
AT PRESENT DISPLAYED AT HARIPUNJAYA NATIONAL MUSEAM; LANPUN.

เศียรพระพุทธรูปดินเผา
ศิลปะหริภุญไชย พุทธศตวรรษที่ 17 ปัจจุบันจัดแสดงใน
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย จ.ลำพูน

Buddha Head Bronze/เศียรพระพุทธรูปสำริด




FROM  WAT PRA THAT HARIPUNJAYA;LAMPUN.
LANNA STYLE; 15th - 16th CENTURY.A.D
ATPRESENT DISPLAYED AT HARIPUNJAYA NATIONAL MUSEUM;LAMPUN.


เศียรพระพุทธรูปสำริด
ได้มาจากวัดพระธาตุหริภุญไชย ลำพูน ศิลปะล้านนา พุทธศตวรรษ
ที่ 20-21 ปัจจุบันจัดแสดงใน พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย 
จ.ลำพูน


Objective establish blog


I make up. For all the people who live abroad, learn about the beauty of Thai art.
And to invite all of you who have not seen the Thai art. Come visit Masterpieces the museum  in Thailand.
At national  Museum Sanam Luang near Thammasat University. In The  Museum have a coffee shop (Hagendaz) and bookstore .Give you drink and shopping, too.(The icecream cake at here is a very tasty ).

ฉันทำบล็อคนี้ขึ้น สำหรับทุกคนที่อาศัยอยู่ในต่างประเทศได้เรียนรู้เกี่ยวกับความงามของศิลปะไทย
และจะเชิญทุกท่านที่ยังไม่ได้เห็นศิลปะไทย มาเยี่ยมชมผลงานชิ้นเอกของพิพิธภัณฑ์ในประเทศไทย
ป.ล.ที่พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติสนามหลวงใกล้มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ในพิพิธภัณฑ์มีร้านกาแฟ (Hagendaz) และร้านหนังสือ. ให้คุณดื่มและช้อปปิ้งด้วยนะ (ไอกรีมเค้กที่นั่นอร่อยมากๆคะ)